ตารางเปรียบเทียบ Outdoor Antenna
สวัสดีเพื่อนชาวกูแอ๊บทุกคนนะครับ วันนี้เอาเรื่องออกจะไกลตัวไปสักนิดมาให้ลองอ่านกันขำๆ เกี่ยวกับรูปแบบการทำงานของเสาWireless ชนิดต่างเพื่อนหลายคนอาจจะเคยเห็นกันมาบ้างแล้วแต่ไม่รู้ว่าการทำงานของมันทำงานอย่างไร แต่ละแบบมีประโยชน์อย่างไร วันนี้ก็เลยถือโอกาสดีนำมาให้ลองอ่านกันดูนะครับ หวังว่าคงจะมีประโยชน์กับผู้ที่สนใจด้านนี้ครับ
Antenna Type
|
ระยะที่ต้องการ *(km.)
|
กำลังส่ง
*(dBi.)
|
|
|
09
12
15
|
|
1.8
3.6
7.0
14.0
28.0
|
09
12
15
18
21
|
|
3.6
7.0
|
12
15
|
|
14.0
28.0
|
18
21
|
|
3.6
|
12
|
|
28.0
56.0
|
21
24
|
|
1.0
7.0
28.0
|
07
15
21
|
|
|
|
Omni Type
Point to Multi-Point
|
|
เสาอากาศแบบรอบทิศทาง (Omni Type) ใช้สำหรับเชื่อมต่อระบบเครือข่ายไร้สายภายนอกอาคาร แบบ Point to Multi-Point เหมาะสำหรับการกระจายสัญญาณรอบทิศทาง หรือการทำจุดกระจายสัญญาณไร้สายสาธารณะ (Wi-Fi Hot Spot) |
|
|
|
|
|
ภาพตัวอย่างการกระจายสัญญาณของเสาแบบ Omni Type รุ่น LAXO-AN-GP09 |
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
|
|
|
Omni Type Condition
|
|
|
- ทั้ง 5 ตึกอยู่ในบริเวณเดียวกัน
- ติดตั้งเสาส่งสัญญาณบนยอดตึก
กลาง และเสารับสัญญาณบน
ยอดตึกอื่นๆ
- ตึก กลาง สูงเท่าตึก 1 และ 4
- ตึก 2 และ 3 ความสูงเท่านั้น
- เสา Omni จะกระจายสัญญาณ
ได้รอบทิศทางในแนวระนาบ (Horizontal)
- แต่ในแนวดิ่ง (Vertical) ตึกที่จะรับสัญญาณได้ต้องมีความสูง
ในระดับเดียวกัน
|
|
|
|
|
Connectionn Tip
|
|
|
|
|
|
ควรเลือกเสาที่มีมุมกวาดที่สามารถ
ครอบคลุมได้ทั้งในแนวตั้งและ
แนวนอน จุดศูนย์กลางของการ
ครอบคลุม ควรเป็นพื้นที่ที่รับ
ส่งข้อมูลมากที่สุด(เช่นอาคารหลัก)
อย่างไรก็ดี หากการรับส่งข้อมูล
ไม่มาก การกำหนดจุดศูนย์กลาง
ตามตำแหน่งภูมิศาสตร์ของตึก
ก็ทำได้เช่นกันนี้
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ที่มา: www.tactio.co.th |
Panel Type
Point to Point
|
|
เสาอากาศแบบทิศทาง (Panel Type) ใช้สำหรับเชื่อมต่อระบบเครือข่ายไร้สายภายนอกอาคาร แบบ Point to Multi-Point เหมาะสำหรับการเชื่อมต่อระหว่างอาคารที่ตั้งกระจายตัวอยู่ในบริเวณเดียวกันแต่ะระยะทางไม่ห่างกันมากนัก และต้องการควบคุมทิศทาง
ของสัญญาณไร้สาย |
|
|
|
|
|
ภาพตัวอย่างการกระจายสัญญาณของเสาแบบ Panel Type รุ่น LAXO-AN-PG09 |
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
|
|
|
Panel Type Condition
|
|
|
- ทั้ง 5 ตึกอยู่ในบริเวณเดียวกัน
- ติดตั้งเสาส่งสัญญาณบนยอดตึก
กลาง และเสารับสัญญาณบน
ยอดตึกอื่นๆ
- ตึก กลาง สูงเท่าตึก 1,3,4
- ตึก 2 เตี้ยกว่าตึกอื่น
- เสา Panel จะกระจายสัญญาณ
ได้ความกว้างที่ไม่มากนักในแนว
ระนาบ(Horizontal)
- กระจายสัญญาณได้ความกว้าง
ระดับที่เท่ากันในแนวดิ่ง (Vertical)
|
|
|
|
|
Connectionn Tip
|
|
|
|
|
|
พิจารณาตามมุมกวาดทั้งแนวตั้ง
และแนวนอนแล้ว อาจจะมีเสา
หลายรุ่นหลายแบบให้เลือก
ปัจจัยในการเลือกเสาที่จะใช้งาน
ก็คือเรื่องความเหมาะสมในการ
ติดตั้ง เช่น ความสวยงามของ
สถานที่ หรือขนาดของเสากับ
พื้นที่ติดตั้ง
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ที่มา: www.tactio.co.th |
|
Sector Type
Point to Multi-Point
|
|
เสาอากาศแบบทิศทาง ( Sector Type) ใช้สำหรับเชื่อมต่อระบบเครือข่ายไร้สายภายนอกอาคาร แบบ Point to Multi-Point และต้องการควบคุมทิศทางสัญญาณในแนวระนาบ เหมาะสำหรับการเชื่อมต่ออาคารที่กระจายตัวอยู่ในบริเวณเดียวกัน
และอาคารส่วนใหญ่มีความสูงใกล้เคียงกัน |
|
|
|
|
|
ภาพตัวอย่างการกระจายสัญญาณของเสาแบบ Sector Type รุ่น LAXO-AN-SC12 |
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
|
|
|
Sector Type Condition
|
|
|
- ทั้ง 5 ตึกอยู่ในบริเวณเดียวกัน
- ติดตั้งเสาส่งสัญญาณบนยอดตึก
กลาง และเสารับสัญญาณบน
ยอดตึกอื่นๆ
- ตึก กลาง สูงเท่าตึก 1,3,4
- ตึก 2 เตี้ยกว่าตึกอื่น
- เสา Sector จะกระจายสัญญาณ
ในแนวระนาบ (Horizontal) ได้ความกว้างมากกว่าเสา Panel
- แต่มีระยะการกระจายสัญญาณ
ในแนวดิ่ง (Vertical) น้อยกว่าเสา
Panel
|
|
|
|
|
Connectionn Tip
|
|
|
|
|
|
เกณฑ์ขยายของเสาในทิศทางต่างๆ
ไม่เท่ากัน โดยจะแปรไปตาม
รูปกราฟที่แสดงเกณฑ์ขยายของเสา
ทั้งในแนวตั้งและแนวนอน ซึ่งจะ
เห็นได้ว่า เกณฑ์ขยายสูงสุด
ส่วนใหญ่จะอยู่ด้านหน้าของเสา
และเกณฑ์ขยายจะลดลงเมื่อ
เป้าหมายไม่ได้อยู่ในตำแหน่ง
หน้าเสา
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ที่มา: www.tactio.co.th |
Grid Type
Point to Point
|
|
เสาอากาศแบบทิศทาง (Grid Type) ใช้สำหรับเชื่อมต่อระบบเครือข่ายไร้สายภายนอกอาคาร แบบ Point to Point เหมาะสำหรับการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายไร้สายจากอาคารสู่อาคารและต้องการควบคุมทิศทางของสัญญาณ |
|
|
|
|
|
ภาพตัวอย่างการกระจายสัญญาณของเสาแบบ Grid Type รุ่น LAXO-AN-CO12 |
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
|
|
|
Grid Type Condition
|
|
|
- ทั้ง 5 ตึกอยู่ในบริเวณเดียวกัน
- ติดตั้งเสาส่งสัญญาณบนยอดตึก
กลาง และเสารับสัญญาณบน
ยอดตึกอื่นๆ
- ตึก กลาง สูงเท่าตึก A,B,D
- ตึก C เตี้ยกว่าตึกอื่น
- เสา Grid จะกระจายสัญญาณ
แบบจำกัดพื้นที่ที่สัญญาณทั้งในแนว
ระนาบ (Horizontal) และในแนวดิ่ง
(Vertical)
- เหมาะสำหรับการเชื่อมต่อสัญญาณ
แบบจุดต่อจุด โดยป้องกันสัญญาณ
ไร้สายกระจายไปด้านหลัง
|
|
|
|
|
Connectionn Tip
|
|
|
|
|
|
เพื่อให้ได้่พื้นที่ครอบคลุมที่ต้องการ
ไม่จำเป็นต้องมีจุดกลางจุดเดียว
แต่สามารถแบ่งพื้นที่ครอบคลุม
เป็นส่วนๆแล้วใช้ชุดอุปกรณ์ให้
้เหมาะสมเพื่อให้ดูแลระบบ
ได้ง่ายขึ้น เช่น การเชื่อมต่ออาคาร
ด้านหน้าและด้านหลังสามารถใช้
เสาgridสองชุดแทน Omni
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ที่มา: www.tactio.co.th |
Yagi Type
Point to Multi-Point
|
|
เสาอากาศแบบทิศทาง (Yagi Type) ใช้สำหรับเชื่อมต่อระบบเครือข่ายไร้สายภายนอกอาคาร แบบ Point to Point เหมาะสำหรับการใช้งานกับ Client ที่ต้องการเชื่อมต่อกับ Access Point ในระยะไกลโดยเน้นการกระจายสัญญาณเป็นเส้นตรง |
|
|
|
|
|
ภาพตัวอย่างการกระจายสัญญาณของเสาแบบ Yagi Type รุ่น LAXO-AN-YG07 |
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
|
|
|
Yagi Type Condition
|
|
|
- ทั้ง 5 ตึกอยู่ในบริเวณเดียวกัน
- ติดตั้งเสาส่งสัญญาณบนยอดตึก
กลาง และเสารับสัญญาณบน
ยอดตึกอื่นๆ
- ตึก กลาง สูงเท่าตึก A,B,D
- ตึก C เตี้ยกว่าตึกอื่น
- เสา Yagi จะกระจายสัญญาณ
แบบจำกัดพื้นที่ที่สัญญาณทั้งในแนว
ระนาบ (Horizontal) และในแนวดิ่ง
(Vertical)
- เหมาะสำหรับการเชื่อมต่อสัญญาณ
แบบจุดต่อจุด
|
|
|
|
|
Connectionn Tip
|
|
|
|
|
|
เพื่อความสวยงาม เสาทุกรูปแบบ
สามารถพ่นสีให้กลมกลืน กับ
ตัวอาคารได้ แต่มีข้อแนะนำ คือ
ควรติดตั้งและทดลองใช้จนมั่น
ใจว่าเสานั้นๆทำงานได้เป็นอย่างดี
แล้วค่อยพ่นสี เพราะการพ่นสีจะ
ทำให้หมดการรับประกันสินค้า
และควรใช้วิธีการพ่นสีบางๆ
แทนการทาสี
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ที่มา: www.tactio.co.th |
พระเครื่อง {url}http://wwww.itti-patihan.com/{/url}
พระเครื่อง
{url}http://www.itti-patihan.com/{/url}
ขอบคุณครับ
เสา wifi
เคยอ่านเจอวิธีที่จะทำให้เสาสัญญาณกระจายคลื่นได้เยอะขึ้น เค้าจะใช้กระป๋องน้ำอัดลมมาผ่าแล้วคลี่ออก แล้วนำมาครอบกับเสา มันจะเพิ่มสัญญาณมาอีก 2 ขีดจากเดิม